สำหรับกิจกรรม “มหกรรมของดีศรีบุญเรือง เมืองเกษตรพอเพียง ประจำปี 2567 ” จัดขึ้นระหว่างวันที่ มีนาคม 2567 ณ สนามที่ว่าการอำเภอศรีบุญเรือง ในงานจัดให้มีการแสดง ดนตรี มหรสพ สวนสนุก อาหารอร่อย พร้อมสินค้าราคาถูกจำหน่ายให้กับผู้ที่มาเที่ยวชมงานอีกด้วย. จัด MOU “การส่งเสริมการออมเพื่อเด็กและเยาวชน” ระหว่างกรมกิจการเด็กและเยาวชน และ กอช. โดยนางอภิญญา ชมภูมาศ อธิบดีกรมกิจการเด็กและเยาวชน และ น.ส.จารุลักษณ์ เรืองสุวรรณ เลขาธิการ กอช. ตลอดหลายสัปดาห์ที่ผ่านมา ผมรอฟังคำอธิบายจาก “หัวหน้าพรรคอนาคตใหม่” เกี่ยวกับรูปที่เขาแชร์กันมากมายว่า..ใช่รูปนายธนาธรหรือไม่? เรื่องเดียวกันนี้ นายกนก รัตน์วงศ์สกุล โพสต์ Kanok Ratwongsakul Fan Page อธิบายแย้งประเด็นดังกล่าวไว้ว่า …. “….เรื่องน้ำนี้ก็เป็นปัจจัยหลักของมวลมนุษย์ ไม่ใช่มนุษย์เท่านั้น แม้สิ่งมีชีวิตทั้งหลายทั้งสัตว์ทั้งพืชก็ต้องมีน้ำ ถ้าไม่มีก็อยู่ไม่ได้ เพราะว่าน้ำเป็นสื่อหรือเป็นปัจจัยสำคัญของการเป็นสิ่งมีชีวิต…..”
วันพุธ ที่ 21 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 10.00 น. ที่องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำดิบ อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน นายสันติธร ยิ้มละ… วันนี้ (31 มกราคม 2567) ห้องประชุมหริภุญชัย ชั้น four ศาลากลางจังหวัดลำพูน… วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09.30 น.
“…การจะเป็นเสือนั้นไม่สำคัญ สำคัญอยู่ที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินนั้น หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตนเอง ความพอเพียงนี้ไม่ได้หมายความว่าทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัวเอง จะต้องทอผ้าใส่เอง อย่างนั้นมันเกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอำเภอ จะต้องมีความพอเพียงพอสมควร บางสิ่งบางอย่างผลิตได้มากกว่าความต้องการก็ขายได้ แต่ขายในที่ไม่ห่างไกลเท่าไร ไม่ต้องเสียค่าขนส่งมากนัก…”พระราชดำรัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙. “…การจะเป็นเสือนั้นไม่สำคัญ สำคัญอยู่ที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินนั้น หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตนเอง ความพอเพียงนี้ไม่ได้หมายความว่าทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัวเอง จะต้องทอผ้าใส่เอง อย่างนั้นมันเกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอำเภอ จะต้องมีความพอเพียงพอสมควร บางสิ่งบางอย่างผลิตได้มากกว่าความต้องการก็ขายได้ แต่ขายในที่ไม่ห่างไกลเท่าไร ไม่ต้องเสียค่าขนส่งมากนัก…”พระราชดำรัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙. จากเรื่องราวของ นางกุหลาบทิพย์ แก่นลา เกษตรกรที่ได้น้อมนำหลักเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยการจัดสรรพื้นที่ ที่อยู่อาศัย แปลงเกษตรผสมผสาน ปลูกพืชที่ใช้ต้นทุนต่ำ รวมถึงแปลงไม้ยืนต้น ทำให้มีรายได้ทุกวัน ซึ่งช่วยลดความเสี่ยง และเพิ่มภูมิคุ้มกันความเสี่ยงของการดำเนินชีวิตที่เกินตัว ทำให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ยั่งยืน และอยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข ในเขตปฏิรูปที่ดิน. การมอบรางวัลสถานประกอบการที่ปฏิบัติตามมาตรการในรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2565 พร้อมทั้งการมอบรางวัลสำหรับเทศบาลที่ได้รับการคัดเลือกในระดับประเทศ ภายใต้กรอบความร่วมมืออาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนประจำปี 2564 และการมอบรางวัลนวัตกรรม สผ.